รายการบล็อกของฉัน

วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2560

การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการประกอบกันชนด้านหน้าของรถยนต์ ยี่ห้อฟอร์ด รุ่นเฟียสต้า

ผู้แต่ง : นคร บุตรดีเลิศ, วุฒิไกร ชัยวังสิงห์, สุคนธวา คำสาทร
เอกสาร
1.    ความเป็นมา/หลักการและเหตุผล
การประกอบชิ้นส่วนกันชนหน้าของรถยนต์มีรอยขีดข่วนเป็นจำนวนมาก ทำให้ไม่สามารถส่งสินค้าให้ลูกค้าได้และเกิดปัญหาในในหลายด้านตามมาเช่นต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นความเชื่อมั่นของลูกค้าลดน้อยลงของเสียและผลิตเพิ่มมากขึ้นประสิทธิภาพงานลดน้อยลง
2.    วัตถุประสงค์
2.1.   เพื่อปรับปรุงและพัฒนากระบวนการประกอบชิ้นส่วนกันชนด้านหน้าของรถยนต์ยี่ห้อฟอร์ด รุ่นเฟียสต้า
2.2.   เพื่อลดเวลาในการทำงาน
2.3.   เพื่อลดของเสียในกระบวนการผลิต
2.4.  เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานให้กับพนักงานในกระบวนการประกอบชิ้นส่วนการสนทนาของรถยนต์ยี่ห้อฟอร์ด รุ่นเฟียสต้า
3.    ขอบเขตของการศึกษา
ศึกษาและปรับปรุงสายพานกระบวนการประกอบชิ้นส่วนกันชนด้านหน้าของรถยนต์ยี่ห้อฟอร์ด รุ่นเฟียสต้า ของบริษัท ไทยซัมมิท อิสเทิร์นซีบอร์ด โอโตพาร์ท อินดัสตรี จำกัด ในนิคมอุตสาหกรรมอิสเทิร์นซอร์ด จังหวัดระยอง
4.    ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.1.   การควบคุมคุณภาพการศึกษาเวลาการเคลื่อนไหวการศึกษาเวลาการทำงานการวางผังโรงงาน การจัดสมดุลของสายพานการผลิตปกรณ์จากยึดชิ้นส่วนกันชนหน้ารถยนต์
4.2.   การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิตหาเวลามาตรฐานการทำงานรวมถึงกิจกรรมสูญเปล่าในกระบวนการผลิตพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยการประยุกต์ใช้ของภาพสายธารคุณค่า
4.3.   การศึกษาวิธีการทำงานและหาเวลามาตรฐานของกระบวนการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
4.4.   การศึกษาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในสายการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
5.    วิธีการ/ขั้นตอนการวิจัย
5.1.   ศึกษาประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
5.2.   การศึกษาข้อมูลเพื่อใช้ในการวิจัย
5.3.   เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนภูมิก้างปลา
5.4.   คันตอนการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการประกอบชิ้นส่วนกันชนรถยนต์
5.5.   การวิเคราะห์ข้อมูล
6.    ผลการวิจัย
จากการศึกษาพบว่าอุปกรณ์จับยึดชิ้นงานไม่มีความเหมาะสมในการปฏิบัติงานจึงได้ดำเนินการปรับปรุงสร้างอุปกรณ์จับยึดชิ้นงานประกอบงานใหม่พบว่าอุปกรณ์จับยึดชิ้นงานแบบใหม่สามารถช่วยลดระยะเวลาในการประกอบชิ้นส่วนได้ดีกว่าเต่าถึง 26 วินาทีต่อชิ้นและยังสามารถช่วยลดความเสียหายจากการเกิดรอยขีดข่วนระหว่างการประกอบชิ้นส่วนได้ 86.95%
7.    ข้อจำกัดของงานวิจัย/ข้อเสนอแนะ

เนื่องจากอุปกรณ์จากจับยึดชิ้นงานมีน้ำหนักเบาและอาจทำให้ขยับได้ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงหาวิธีปรับปรุงให้อุปกรณ์จับยึดชิ้นงานสามารถยึดติดอยู่กับที่และสะดวกต่อการประกอบมากยิ่งขึ้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น